เราสามารถที่จะผลิต น้ำตาล ได้จากพืชหลายชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น อ้อย มะพร้าว ตาลโตนด ฯลฯ แต่การผลิต น้ำตาลจากมะพร้าวนิยมทำกันในอุตสาหกรรมภายในครัวเรือน หรือชุมชน หรือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ซึ่งใช้เงินลงทุนและแรงงานค่อนข้างต่ำ และคนไทยเองก็นิยมนำน้ำตาลมะพร้าวมาใช้เป็น ส่วนผสม ในการผลิตอาหารหรือขนมหวานแบบไทยๆ หลากหลายชนิด เพราะน้ำตาล มะพร้าวจะให้รสชาติที่หอมหวานกว่าน้ำตาลชนิดอื่นนั่นเอง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นน้ำตาลชนิดใดหากมีการทำเป็นกิจการหรือธุรกิจขึ้นมาแล้ว ไม่ว่าจะ ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ก็ต้องศึกษาเรื่องภาษีเอาไว้ด้วย
เมื่อต้องการเริ่มธุรกิจผลิตน้ำตาล ผู้- ประกอบการสามารถจดทะเบียนธุรกิจได้ตาม รูปแบบของกิจการ และสามารถเข้าสู่ระบบ ภาษีได้ โดยการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และในกรณีที่มีเงิน- ได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปีก็จะต้องจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียนด้วยและในกรณีที่ผู้ประกอบการต้องการ จัดตั้งโรงงานผลิตน้ำตาล ผู้ประกอบการต้อง ขออนุญาตตั้งโรงงานอุตสาหกรรมจากกรม โรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม พร้อมทั้งขออนุญาตจัดตั้งสถานที่ผลิตอาหาร ขอมาตรฐานการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร และขออนุญาต ผลิตภัณฑ์อาหารจากสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา หรือสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดแห่งท้องที่ที่สถานประกอบกิจการตั้ง อยู่ด้วยล่ะ
หากมีการนำวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ ในการประกอบธุรกิจเข้ามาจากนอกประเทศ เรามีหน้าที่ต้องยื่นใบขนสินค้าขาเข้าซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้
หากมีการนำวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ ในการประกอบธุรกิจเข้ามาจากนอกประเทศ เรามีหน้าที่ต้องยื่นใบขนสินค้าขาเข้าซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้
จ้างลูกจ้าง ในกรณีที่เรามีลูกจ้าง เราต้องทำการ เสียภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย เพื่อนำส่งกรม สรรพากรภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไปที่ เราจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้างหรือโบนัส ฯลฯ
สำหรับผู้ให้เช่าต้องเสียภาษีเงินได้ ในฐานะที่มีรายได้จากการให้เช่าและต้อง เสียค่าอากรแสตมป์ตามมูลค่าของสัญญาเช่าส่วนสำหรับผู้เช่าเฉพาะกรณีที่เป็นนิติบุคคล การจ่ายค่าเช่าต้องเสียภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายด้วยนะ
เราสามารถจำหน่ายได้ทั้งในประเทศ และส่งออกไปขายนอกประเทศ แต่ก็อย่าลืม ชำระภาษี ดังนี้
ต้องยื่นแบบชำระภาษีปีละ 2 ครั้ง ได้แก่
ผู้ประกอบการที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติ- บุคคลต้องยื่นแบบชำระภาษีต่อกรมสรรพากร ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่ ที่สถานประกอบการตั้งอยู่หรือยื่นทางอินเทอร์- เน็ต ปีละ 2 ครั้ง ได้แก่
* โดยเราต้องจัดทำรายงานสินค้าและ วัตถุดิบ รายงานภาษีขายและยื่นแบบภาษี มูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.30 ในแต่ละเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
เราจะต้องยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งเสียภาษีในอัตราร้อยละ 0 และยื่นใบขนสินค้าขาออกเพื่อผ่านพิธีการ ศุลกากรแบบไร้เอกสาร (Paperless) เพื่อเสีย อากรขาออกตามที่กำหนดนอกเหนือจาก ภาษีเงินได้
หินอ่อนและหินแกรนิต เป็นสินค้าที่จัดอยู่ในประเภทหินประดับ ก่อให้เกิดมู...
จากสินค้าที่เป็นที่รู้จักและซื้อขายกันเฉพาะในท้องถิ่น ปัจจุบัน " มีดอรัญญิ...
“กระจูด” เป็นพืชตระกูลกกที่ถูกคัดเลือกให้เป็นวัตถุดิบสำคัญ...
"ภาษีสุรา" ...ง่าย และได้ช่วยชาติ
ใน...
คำว่า “แพทย์ทางเลือก” ตามความหมายที่ระบุไว้ในเว็บไซต์ของสำ...
“ปลาสลิด” จัดเป็นสัตว์น้ำยอดนิยมที่ถูกนำมาแปรรูป ถนอมความส...
“เครื่องปั้นดินเผา” เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย ที่นำดินมาปั้...
เครื่องทองโบราณ เป็นงานฝีมือที่ใช้วัตถุดิบทองคำเปอร์เซ็นต์สูงถึง 99.99...
ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการทำธุรกิจแต่อยากมีธุรกิจเป็นของ ตนเอง อาจจ...
เครื่องใช้ภายในบ้านที่ทำจากไม้กำลังเป็นที่นิยมทั้งคนไทย และชาวต่างประเทศ เนื่องจากมีควา...
ธุรกิจบริการทำความสะอาดรถจะมีการให้บริการในหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่ล้างรถ ดูดฝุ่น ขัดสี เ...
ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่มีพืชสมุนไพรเป็นส่วนผสมในกระบวน การผลิต โดยมีการนำพืชสมุนไพรเหล...
“ เครื่องปรับอากาศ ” เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประจำบ้าน ที่พักอา...
ธุรกิจนำเที่ยว” คือการให้บริการนำนักท่องเที่ยว เดินทางไปท่องเที่ยวยังสถานที่ต่างๆ...
“ผ้าไหม” มรดกแห่งภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน ถือ...
ธุรกิจสถานบันเทิงที่มีอาหารและการแสดงเป็นธุรกิจหนึ่งที่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่น และว...
ร้านประดับยนต์เป็นธุรกิจที่จำหน่ายและบริการติดตั้ง อุปกรณ์เสริมตกแต่งรถยนต์ เช่น ฟิล์มก...
‘ไวน์ผลไม้” กำลังเป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจ...
ร้านขายของชำ หรือร้านโชห่วย มักอยู่ตามตลาดหรือแหล่งชุมชน
โดยร้านขายของชำจะไปซื้อ...
ไม่ว่าจะกี่ยุคกี่สมัย "กาแฟ"ก็ยังคงรักษาสถานะเครื่อง ดื่มยอด...